วันพุธที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2562

ตรวจสอบทบทวนบทที่ 8


ในการเขียนแผนจัดการเรียนรู้ขั้น การประเมินการเรียนรู้อิงมาตรฐาน ปฏิบัติการเขียนแผนจัดการ เรียนรู้ด้วยการเขียนระดับคุณภาพของผลการเรียนรู้ (rubrics) ซึ่งอาจใช้แนวทางการกําหนดระดับคุณภาพของ สมรรถนะตามแนวคิด SOLO Taxonomy การเรียนรู้อย่างลุ่มลึก ไม่ใช่เรียนแบบผิวเผิน หรือแนวทางอื่น ๆ

      การประเมินอิงมาตรฐานระดับที่มีความสําคัญที่สุดคือ การจัดการเรียนรู้หรือการเรียนการสอนเร็จ โดยดูจากผู้เรียนมีความรู้ และทักษะเป็นไปตามมาตรฐานที่กำหนดไว้ กล่าวได้ว่าโปรแกรมการเรียนการสอนมีประสิทธิผลระดับใน สอนที่ช่วยให้ผู้เรียนประสบความสําเร็จในการเรียนรู้ได้โดยใช้ทรัพยากรคนประสบความสําเร็จในการเรียนรู้ได้โดยใช้ทรัพยากรที่มีอยู่จํากัด กล่าวได้ว่าการจัดการ เรียนรู้หรือการเรียนการสอนมีประสิทธิภาพ
     การเรียนการสอนมีประสิทธิภาพระดับใด การประเมินคุณภาพภายใน เป็นการประเมินให้ สักเที่กระบวนการ(process) การประเมินคุณภาพภายในเป็นการประเมินในระหว่างจัดการเรียนรู้หรือคนมีจดมุ่งหมายเพื่อตรวจสอบปรับปรุงแก้ไขสิ่งแวดล้อมการเรียนรู้และปรับปรุงสื่อ - การเรียนการสอน ส่วนการประเมินคุณภาพภายนอก เป็นการประเมินที่มุ่งตอบคําถามว่า การสอนประสบความสําเร็จตามแผนที่วางไว้หรือไม่ ผู้เรียนมีคุณลักษณะตามที่หลักสูตรกําหนด หรือไม่ คําถามหลัก คือ ผู้เรียนสามารถปฏิบัติงานหลังจากการเรียนการสอนได้หรือไม่ กระบวนการมี ขั้นตอนใดที่มีปัญหาอุปสรรค เพื่อนําไปเป็นข้อมูลสําคัญสําหรับผู้บริหารได้พัฒนาในโอกาสต่อไป

S : การประเมินอิงมาตรฐาน (Standara Based Assessment)

เกณฑ์การประเมิน

เรื่อง  สมบัติและอนุภาคของสาร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6

รายการประเมิน
เกณฑ์ระดับคุณภาพคะแนน
4
3
2
1
1. ความถูกต้องและครบถ้วน
ตอบคำถามได้ถูกต้องครบถ้วนตรงตามเนื้อหาสาระ ครอบคลุม ชัดเจน ทุกประเด็นคำถาม
ตอบคำถามได้ถูกต้องครบถ้วนตรงตามเนื้อหาสาระ ครอบคลุม ชัดเจน เกือบทุกประเด็นคำถาม
ตอบคำถามได้ถูกต้อง ตรงตามเนื้อหาสาระ        แต่ไม่ครบถ้วนบางประเด็นคำถาม และไม่ครอบคลุม
ตอบคำถามได้      ไม่ถูกต้อง ตรงตามเนื้อหาสาระ   
2. เขียนสรุปความรู้ด้วยตนเองได้ชัดเจนดี
สรุปความรู้ด้วยตนเอง ได้ชัดเจนดี ครบถ้วนตรงตามจุดประสงค์
สรุปความรู้ด้วยตนเอง ได้ชัดเจนดี ครบถ้วนตรงตามจุดประสงค์โดยครูแนะนำเป็นบางส่วน
สรุปความรู้ด้วยตนเอง ค่อนข้างจะครบถ้วน ตรงตามจุดประสงค์ โดยครูแนะนำเป็นส่วนมาก
สรุปความรู้ด้วยตนเองไม่ได้
3. การตรงต่อเวลา
ทำแบบฝึกหัดเสร็จตรงตามกำหนดเวลาทุกครั้ง
ทำแบบฝึกหัดเสร็จตรงตามกำหนดเวลาเกือบทุกครั้ง
ทำแบบฝึกหัดเสร็จตรงตามกำหนดเวลาเป็นบางครั้ง
ทำแบบฝึกหัดไม่เสร็จตรงตามกำหนดเวลา



ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น

เกี่ยวกับบล็อค

บล็อกนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชาการจัดการเรียนรู้ และการจัดการชั้นเรียน โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พิจิตรา ธงพานิช สาขาหลักสู...