วันจันทร์ที่ 18 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2562

กรอบแนวคิดที่มา


กรอบแนวคิดที่มา The STUDIES Model
                
รูปแบบ The STUDIES Model เป็นผลสืบเนื่องมาจากการศึกษาวิจัยเพื่อส่งเสริมความสามารถในการจัดการเรียนรู้และการจัดการชั้นเรียน สำหรับนักศึกษาวิชาชีพครู ศึกษาวิเคราะห์หลักการ แนวคิด ทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง ประกอบด้วยแนวนโยบายแห่งรัฐ ในการจัดการศึกษา Thailand 4.0 หรือยุคการศึกษา 4.0 มาตรฐานวิชาชีพครู พ..2556 แนวคิดการจัดการเรียนรู้ตามทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ การออกแบบการเรียนการสอนแบบสากล การวัดผลการเรียนรู้ การกำหนดระดับความเข้าใจ ในกรกำหนดค่าระดับคุณภาพการเรียนรู้ตามแนวคิด SOLO Taxonomy ผลการศึกษาวิจัยได้รูปแบบการจัดการเรียนรู้ ที่เรียกว่า The STUDIES Model มีรายละเอียดกรอบแนวคิด (The STUDIES Model framework) 


ศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้อง
1. พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542และปรับปรุง 2553
2. มาตรฐานคุณวุฒิระดับปริญญา สาขาครุศาสตร์และหรือสาขาศึกษาศาสตร์ (หลักสูตรห้าปี)
3. มาตรฐานวิชาชีพทางการศึกษา
4. หลักสูตร การสอน ที่เน้นผู้เรียนเป็นสําคัญ
5. การศึกษา 4.0
6. การกําหนดระดับความเข้าใจในการกําหนดค่าระดับ คุณภาพการเรียนรู้ตามแนวคิด SOLO Taxonomy



แนวคิด ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับการจัดการเรียนรู้                         
1.ทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ (Constructivism)
2. Constructivist learning Method: CLM
3 แนวคิดการออกแบบการเรียนการสอนที่เป็น
สากล (Universal Design of Instruction : UDI)
4. SU Model
5. NPU Model
 

งานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนารูปแบบการเรียน
การสอน
1. Meyers and other (2002)
2. Meyers and Mcnulty(2009)
3. สุเทพ อ่วมเจริญ ประเสริฐมงคล และวัชรา เล่า
เรียนดี (2559) (SU Learning Model)
4.สุจิตรา ปันดี (2558) (LRU Model)
5. นฤมล ปภัสสรานนท์ (2559) (DRU Model )


รูปแบบ The STUDIES Model


 

ทฤษฎี/แนวคิด

ขั้นตอน/กิจกรรม การเรียนรู้
Constructivist


Clarifying exist knowledge
Identifying receiving and understanding new information

Confirming and using new knowledge
DRU Model
D: การวินิจฉัยและออกแบบการเรียนรู้
R: การใช้วิจัยเพื่อพัฒนาสิ่งแวดล้อมการเรียนรู้
U: การประเมิน ตรวจสอบทบทวนตนเอง
SU Learning
Model
การวางแผนการเรียนรู้
การออกแบบ
ปฏิบัติการการเรียนรู้(การเรียนรู้+การจัดการชั้นเรียน)
การประเมินการเรียนรู้

Research Learning
วิเคราะห์จุดหมายในการเรียนรู้
วางแผน
 การพัฒนาทักษะการ เรียนรู้
การสรุปความรู้

การวิพากษ์ความรู้

ประเมินการเรียนรู้

The STUDIES
S setting knowledge goals

T - Task Analysis
U - Universa Design for Instruction

D- Digital Learning
I-Integrate knowledge knowledge goals

E -
Evaluation

S/Standard Model


ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น

เกี่ยวกับบล็อค

บล็อกนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชาการจัดการเรียนรู้ และการจัดการชั้นเรียน โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พิจิตรา ธงพานิช สาขาหลักสู...